ผู้ขับร้อง :
บุษยา รังสี
|
ลำนำเพลง คลิกที่นี่
|
เกร็ดเพลง
|
© บันทึกเสียงครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2505 โดย บุษยา รังสี
|
กังหันลม
|
|
|
© ศรวณี โพธิเทศ บันทึกเสียงอีกครั้ง
|
วรวิทย์
|
|
© "ป่าหิมพานต์" ตามตำนานกล่าวไว้ว่า ป่าหิมพานต์ตั้งอยู่บนเขาหิมพานต์ หรือหิมาลายา (หิมาลัย) คำว่า หิมาลายา นั้นเป็นคำที่ มีรากศัพท์มาจากภาษาสันสกฤตซึ่งแปลว่าสถาน ที่ๆ ถูกปกคลุมด้วยหิมะ ภูเขาหิมพานต์ประดิษฐานอยู่ในชมพูทวีปมีเนื้อที่ ประมาณ ๓,๐๐๐ โยชน์ (๑ โยชน์ เท่ากับ ๑๐ ไมล์ หรือ ๑๖ กิโลเมตร) วัดโดยรอบได้ ๙,๐๐๐ โยชน์ ประดับด้วยยอด ๘๔,๐๐๐ ยอด มีสระใหญ่ ๗ สระคือ ๑ สระอโนดาต ๒ สระกัณณมุณฑะ ๓ สระรถการะ ๔ สระฉัททันตะ ๕ สระกุณาละ ๖ สระมัณฑากิณี ๗ สระสีหัปปาตะ บรรดาสระใหญ่ทั้ง ๗ นั้น สระอโนดาตแวดล้อมไปด้วยภูเขาทั้ง ๕ ที่จัดเป็นยอดเขาหิมพานต์ ยอดเขาทุกยอด มีส่วนสูงและสัณฐาน ๒๐๐ โยชน์ กว้างและยาวได้ ๕๐ โยชน์
ในป่านี้เต็มไปด้วย สัตว์นานาชนิด ซึ่งล้วนแต่แปลกประหลาด ต่างจากสัตว์ที่เรารู้จัก เราได้จำแนกสัตว์หิมพานต์เป็น ๑๕ ประเภทดังนี้
+ สัตว์ประเภทกิเลน
- กิเลนจีน
- กิเลนไทย
- กิเลนปีก
+ สัตว์ประเภทกวาง
- มารีศ
- พานรมฤค
- อัปสรสีหะ
+ สัตว์ประเภทสิงห์
- บัณฑุราชสีห์
- กาฬสีหะ
- ไกรสรราชสีห์
- ติณสีหะ
- เกสรสิงห์
- เหมราช
- คชสีห์
- ไกรสรจำแลง
- ไกรสรคาวี
- ไกรสรนาคา
- ไกรสรปักษา
- โลโต
- พยัคฆ์ไกรสร
- สางแปรง
- สกุณไกรสร
- สิงฆ์
- สิงหคาวี
- สิงหคักคา
- สิงหพานร
- สิงโตจีน
- สีหรามังกร
- เทพนรสีห์
- ฑิชากรจตุบท
- โต
- โตเทพสิงฆนัต
- ทักทอ
+ สัตว์ประเภทม้า
- ดุรงค์ไกรสร
- ดุรงค์ปักษิณ
- เหมราอัสดร
- ม้า
- ม้าปีก
- งายไส
- สินธพกุญชร
- สินธกนธี
- โตเทพอัสดร
- อัสดรเหรา
- อัสดรวิหค
+ สัตว์ประเภทแรด
+ สัตว์ประเภทช้าง
- เอราวัณ
- กรินทร์ปักษา
- วารีกุญชร
- ช้างเผือก
+ สัตว์ประเภทวัวควาย
- มังกรวิหค
- ทรพี / ทรพา
+ สัตว์ประเภทลิง
- กบิลปักษา
- มัจฉานุ
+ สัตว์ประเภทสุนัข
+ สัตว์ประเภทนก
- อสูรปักษา
- อสุรวายุพักตร์
- ไก่
- นกการเวก
- ครุฑ
- หงส์
- หงส์จีน
- คชปักษา
- มยุระคนธรรพ์
- มยุระเวนไตย
- มังกรสกุณี
- นาคปักษี
- นาคปักษิณ
- นกหัสดี
- นกอินทรี
- นกเทศ
- พยัคฆ์เวนไตย
- นกสดายุ
- เสือปีก
- สกุณเหรา
- สินธุปักษี
- สีหสุบรรณ
- สุบรรณเหรา
- นกสัมพาที
- เทพกินนร
- เทพกินรี
- เทพปักษี
- นกทัณฑิมา
+ สัตว์ประเภทปลา
- เหมวาริน
- กุญชรวารี
- มัจฉนาคา
- มัจฉวาฬ
- นางเงือก
- ปลาควาย
- ปลาเสือ
- ศฤงคมัสยา
+ สัตว์ประเภทจระเข้
- กุมภีร์นิมิต
- เหรา
+ สัตว์ประเภทปู
+ สัตว์ประเภทนาค
+ สัตว์ประเภทมนุษย์
- คนธรรพ์
- มะกาลีผล
ที่มา "www.himmapan.com"
|
สุนทรียเกษม
|
|
© วรรคแรกของท่อนที่สาม กามเทพภารตี เข้าใจว่าผิดนะครับ
ภารตี คือหญิงอินเดีย ที่ถูกน่าจะเป็นกามเทพพารตี คือพระกามเทพพาพระชายาคือ นางรตีเที่ยวชมป่า นางรตี คือพระชายาของพระกามเทพในเทววิทยาอินเดียครับ เป็นเทพีแห่งความรัก รตี แปลว่าความรัก ส่วนพระกามเทพ คือเทพแห่งความปรารถนา
|
อินทุกร
|
|
|
© เป็นเพลงที่บรรยายถึงป่าหิมพานต์ ตามความเชื่อว่ามีอยู่จริง
|
ด.ช.ภาณุพงศ์ ไชยมาตร
|
|
|
© จะต้องร้องเพลงหิมพานต์แบบไม่ลดคีย์ค่ะ อาจารย์ไม่ให้ใช้เสียงหลบด้วย ต้องเป็นเสียงเต็มหมด ช่วยแนะนำหน่อยค่ะ ว่าควรทำยังไง
|
ผู้ขอความช่วยเหลือ
|
|
© เพลงนี้ได้ยินตั้งแต่เด็กชอบมาก ฟังแล้วจินตนาการเห็นภาพเลยครับ ถ้าฟังกลางคืนยิ่งไพเราะจับใจ
|
โจ
|
|
© ฃอบเพลงนี้มานาน ฟังไพเราะและได้จินตนาการมาก ๆ ฟังแล้วสบายใจดีมาก
|
นิติธร
|
|
© ฟังเพลงได้ที่นี่ http://www.youtube.com/watch?v=wjNr_qNwCmE
|
โก๋หลังวัด
|
|
© หามาตั้งนานแล้วค่ะ เพลงนี้ ชอบมากค่ะ เพราะจริง ๆ เลย การได้ฟังคนรุ่นใหม่ร้อง ทำให้เราสามารถกลับมาหาเพลงที่คนรุ่นเก่าเจ้าของเวอร์ชั่นร้องได้ ขอบคุณมาก ๆ ค่ะ สอยไปแล้วนะคะ
|
fannyknit
|
|
© ชรัมภ์ เทพชัย นำมาอัดเสียงอีกครั้ง ได้ความไพเราะไปอีกแบบครับ
|
สมชาย
|
|
© เป็นเพลงแรกสุดของคุณปาณิชชา วัฒนานุกุล ที่เธอร้องกับวงดนตรีสังคีตผสม
|
การ์ฟิลด์
|
|
© ชอบมากเลยค่ะ ความหมายมองเห็นภาพเลยค่ะ โดยเฉพาะภาเพลงสวยมากค่ะ ชื่นชมคนแต่งเนื้อร้องและทำนองค่ะ
|
คิตตี้
|
|
© ชอบฟังเพลงแนวนี้ค่ะ ตั้งแต่เด็กเลย ไม่ชอบฟังเพลงเหมือนวัยรุ่นทั่วไป ฟังแล้วได้จินตนาการดีค่ะ โดยเฉพาะภาษาที่สวยงามของบทเพลงค่ะ
|
ลูกเต๋า
|
|
© ชอบเต้นลีลาศเพลงนี้มากมากเลย
|
ล้านนา
|
|
© ลางหรูดูงาม ร่างกลับดูทราม
|
saebww22
|
|
© เพ็ญศรี พุ่มชูศรี เคยขับร้องเพลงนี้
|
การ์ฟิลด์
|
|
© ชอบเพลงนี้มาก กำลังหัดร้องอยู่ น่าจะร้องได้ แต่ไม่รู้ว่าจะไพเราะหรือเปล่า
|
ขวัญ
|
|
© ทราบว่าเพลงนี้มีอีก 3 เพลงที่เป็นชุดเดียวกัน ไม่ทราบมีเพลงอะไรบ้างครับ
|
abichada
|
|
© ได้อ่านบล้อคเกอร์ท่านหนึ่ง ตีความเพลงนี้ไว้ น่าสนใจมาก ในท่อน สาม และ สี่ ของเพลง กามเทพพาระดี ชมป่าหิมพานต์ เริงศรชัยเฉี่ยวไพรพฤกษ์พลาง เล็งเนื้อนางกวางละมั่งคลั่งไคล้ตาม "นาง"หมายถึงนางรตี ถูกศรของกามเทพ ซึ่งมีฤทธิ์มาก แม้แต่สัตว์ต่างๆยังต้องปั่นป่วนไปด้วย ทรวงเอยทรวงซ่าน ยามฤดีดาลสะท้านศรกาม หมายถึงนางระตี ถูกฤทธิ์ศร ลางหรูดูงามลางกลับดูทราบด้วยกามก่อกวน หมายถึง ความรัก ย่อมจะมีความสวยงาม และความทุกข์เกิดขึ้นพร้อมกันไป
|
อำนาจ รักษ์งาน
|
|